วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

แคลเซียม เมื่อไรทีต้องการ และถ้าทานต้องทานแบบไหนดี ?????

แคลเซียมสำหรับคนที่สนใจสุขภาพ พูดถึงสุขภาพแล้วไม่มีคำว่าแก่เกินไป ว่าด้วยเรื่องของ แคลเซียมนั้น จึงมีคนอยากรู้และได้รับคำถามเสมอ แคลเซียมขาดตอนไหน ต้องได้เท่าไรถึงพอ ทานอย่างไรดี
แคลเซียมเป็นส่วนประกอบของร่างกาย ซึ่งร่างกายจะประกอบด้วยแคลเซียม99 % ซึ่งอยู่ไหนกระดูกละฟัน อีก 1 % อยู่ไหนระบบไหลเวียนเลือดของร่างกาย ดูเหมือนน้อย แต่มีประโยชน์ ซึ่งออกฤทธิ์เกี่ยวกับสารสื่อประสาทในร่างกาย ออกฤทธิ์เกี่ยวกับการทำงานของมวลกล้ามเนื้อ ออกฤทธิ์ในการควบคุมการเต้นของหัวใจ แคลเซียมจึงมีบทบาทสำคัญต่อร่างกาย แล้วเรา
ร่างกายเริ่มมีดูดซึมตั้งแต่เด็ก และจะสามารถดูดซึมได้จนถึงอายุ 30 ร่างกายก็จะไม่สามารถเก็บแคลเซียมได้ ถ้าร่างกายได้รับไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะดึงจากที่สะสมในร่างกายมาใช้ซึ่งนั้นก็มาจากกระดูกนั้นเอง ปริมาณที่ต้องการต่อวัน ตั้งแต่อาสยุ1ปีขึ้นไปต้องการ ++800 ต่อวัน อายุ30ปีขึ้นไป++1000ต่อวัน อายุมากกว่า50++1200ต่อวัน  แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุกรรม, เชื้อชาติ เป็นต้น 
ซึ่งแหล่งแคลเซียม มีอยู่มากมายที่รู้จักกัน  คือ นม แต่นมต้องย่อยสลายก่อนร่างกายถึงจะดูดซึมแคลเซียมได้ แต่หลายคนมักแพ้นม การแพ้นม คือการที่ร่างกายไม่สามารถย่อยสลายนมได้ ร่างกายจึงไม่สามารถนำแคลเซียมจากนมไปใช้ได้ หรือลำไส้ไม่มีน้ำย่อยสำหรับย่อยนม ผลทำให้ เกิดแก๊ส แน่นท้อง ท้องเฝ้อ ปวดไมเกรน ภูมิแพ้ ท้องเสีย ท้องผูก และเป็นสาเหตุก่อให้เกิดเซลล์มะเร็ง  พบว่าคนเอเชียแพ้นมถึง 90 % คนไทยเองมีจำนวนคนแพ้นมถึง 99% กันเลยทีเดียว
แหล่งที่มาของแคลเซียมอีกที่ ที่เรารู้จักกันดี ก้คือใน ผัก แคลเซียมจากผักสามารถย่อยได้ เช่น คะน้า 1ขีด/280Mg  กระเฉด 1ขีด/390mg ฯลฯ  เป็นต้น แต่ก็มีผักหลายชนิดที่มีแคลเซียมสูงแต่ร่างกายไม่สามารถดูดซึมได้ เช่น ชะพูล 600มก /ขีดใบยอ400มก/ขีด ใบยอปัดตานี 800มก/ขีด ซึ่งเห็นว่ามีปริมาณแคลเซียมมาก แต่พืชดังกล่าว มีปริมาณออกซาเลตในปริมาณที่สูงที่ผลที่มีออกซาเลตที่สูงนั้น จะจับกับแคลเซียมเป็นแคลเซียมออกซาเลต สามารถทำให้เกิดนิ่วได้ ที่เกิดจากการจับตัวของแคลเซียมนั้นเอง
สำหรับแคลเซียมที่แพร่หลายตามท้องตลาดทั่วไป จะพบแคลเวียมในรูปแบบ
-แคลเซียมคารบอเนต มีข้อเสียคือดูดซึมได้ 10% เท่านั้น  90%ทำให้เกิด แก๊ส ท้องอืด ที่เหลือแพร่กระจายไปในเลือดกระจายไปที่ต่างๆของร่างกาย และส่วนหนึ่งขับออกทางปัสสาวะ
-เคลเซียมซิเตรต  การดูดซึมดีขึ้นคือ ดูดซึม50%   ข้อเสีย คือก็ยังตกค้างได้ถึง 50%
-แคลเซียมเอลทริโอเนต ได้จากพืช ในกระบวนการสกัดจากกระบวนการผลิตวิตามินซีจากข้าวโพด ดูดได้ดีกว่ารูปแบบอื่นถึง 9เท่า 95% จึงตกค้างในร่างกายน้อย
แต่แคลเซียมอย่างเดียวคงไม่พอเพราะกระบวนการดูซึมแคลเซียมยังต้องใช้วิตตามินอื่นเพื่อช่วงในการดูดซิม เช่น วิตตามินดี วิตามินเค2 วิตามินอี วิตตามินซี และการดูดซึมยังต้องอาศัยภาวะกรดอ่อนในร่างกายอีกด้วยเอการดูดซึมที่ดีขึ้น และการต้องการใช้วิตามินดีในการดูดซึมแคลเซียมนั้นต้องใช้ถึง วันละ 800-1000 Unit สามารถรับได้ในแสงแดดช่วงเช้า ช่วง 7-9 โมง เท่านั้น ซึ่ง2 ชั่วโมงจะได้ 200 unit กันทีเดียว ด้วยกันนั้นหากเราได้รับมากเกินไปร่างกายจะขจัดออกจากร่างกายการและยังมีภาวะที่ทำให้แคลเซียมหายไปจากร่างกายซึ่งได้แก่
1.น้ำอัดลม เนื่องจากมีฟอสพอรัสในปริมาณมาก จับตัวกันไม่ดูซึม  2.กาแฟ ปัสสาวะบ่อย  3.นิโคติน จากบุหรี่
4.วิตตามิน เอ รูปแบบเรตินอล  ฯลฯ

ดังนั้น หากต้องแนะนำการบริโภคแคลเซียนั้น ต้องดูที่ความจำเป็นและความต้องการของร่างกายแต่ละคนและภาวะโรงแต่ละคน รูปแบบแคลเซียมทมี่เหมาะสมกับคนไทยนั้น คือแคลเซียมจากพืช  ซึ่งหากได้รับต่อวันเพียงพอแล้วก็ไม่จำเป็นต้องได้รับแคลเซียมเพิ่ม ก็ได้

แคลเซียมจากพืช สามารถหาเพิ่มเติมจาก
https://www.thairath.co.th/content/120402

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น